เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) - Printable Version +- irpg Community (https://irpg.in.th) +-- Forum: Imperial School of Art, Literature and Design (https://irpg.in.th/forum-41.html) +--- Forum: Art Square (https://irpg.in.th/forum-17.html) +--- Thread: เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) (/thread-3522.html) |
เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) - shettawat - 09-24-2020 เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย
ตะวันออก (East) - ตะวันตก (West) Eng.
1.Bhuta - Fairy 2.Preta - Undead 3.Pishaca - Devil 4.Kinnara - Satyr, Siren etc. 5.Mahoraga - Gorgon 6.Naga - Dragon 7.Garuda - Griffin 8.Karavika - Phoenix 9.Hastilinga - Roc 10.Valahaka - Pegasus 11.Gandharva - Elf 12.Vamana - Dwarf 13.Vidyadhara - Wizard 14.Siddha - Sorcerer 15.Jadugara - Shaman 16.Vejjabhuta - Necromancer 17.Kumbhanda - Ogre 18.Rakshasa - Troll 19.Yaksha - Giant 20.Vyanta - Golem Thai. ๑.ภูต - แฟรี่ ๒.เปรต - อันเดด ๓.ปีศาจ - เดวิล ๔.กินนร - เซเทอร์, ไซเรน ฯลฯ ๕.มโหราค - กอร์กอน ๖.นาค - ดรากอน ๗.ครุฑ - กริฟฟิน ๘.การเวก - ฟีนิกซ์ ๙.หัสดีลิงค์ - ร็อก ๑๐.พลาหก - เพกาซัส ๑๑.คนธรรพ์ - เอลฟ์ ๑๒.พมน - ดวอฟ ๑๓.วิทยาธร - วิซาร์ด ๑๔.นักสิทธิ์ - ซอร์เซอเรอร์ ๑๕.ชาฑุคร์ - เชมัน ๑๖.เวชภูต - เนโครแมนเซอร์ ๑๗.กุมภัณฑ์ - โอเกอร์ ๑๘.รากษส - โทรลล์ ๑๙.ยักษ์ - ไจแอนต์ ๒๐.หุ่นพยนต์ - โกเลม ![]() Bhuta - Fairy
![]() Preta - Undead
![]() Pishaca - Devil
![]() Kinnara - Satyr, Siren etc.
![]() Mahoraga - Gorgon
![]() Naga - Dragon
![]() Garuda - Griffin
![]() Karavika - Phoenix
![]() Hastilinga - Roc
![]() Valahaka - Pegasus
![]() Gandharva - Elf
![]() Vamana - Dwarf
![]() Vidyadhara - Wizard
![]() Siddha - Sorcerer
![]() Jadugara - Shaman
![]() Vejjabhuta - Necromancer
![]() Kumbhanda - Ogre
![]() Rakshasa - Troll
![]() Yaksha - Giant
![]() Vyanta - Golem
ปล.สำหรับกินนร (Kinnara) นั้น เทียบได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น Centaur Harpy และอื่นๆ เนื่องจากว่ากินนรเป็นอมนุษย์จำพวกครึ่งคนครึ่งสัตว์ Half-Human, Half-Beast จึงมีแยกย่อยออกมาหลายประเภท รวมไปถึง "นรสิงห์" (Narasimha) ที่ยุโรปเรียกว่า "สฟิงซ์" (Sphinx) ก็แยกออกมาจากกินนรเช่นกัน
หลักฐานกินนรประเภทมฤค (กวาง, เก้ง, เนื้อทราย) ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระไตรปิฎกเถรวาท ![]() Narasimha - Sphinx
RE: เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) - shettawat - 09-24-2020 ส่วนคนแคระ (Dwarf) ชาวอินเดียเรียกว่า "เพาน์" (Bauna) แต่เหตุที่ใช้ "พมน" (Vamana) เพราะว่ามันมีความไพเราะมากกว่า โดยรากศัพท์บาลีเดิมจากพระไตรปิฎกใช้ว่า "วามนํ" อันหมายถึง "คนแคระ" อย่างตรงตัว ซึ่งปกรณัมเริ่มแรกที่บอกเล่าเรื่องราวของ “พมน” (Dwarf) เริ่มต้นตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๘ ในช่วงราชวงศ์คุปตะของอินเดียเหนือ โดยเล่าในเทพปกรณัมว่าพมนนั้น คือ บริวารของเทพโลกบาลพระนามว่า “ท้าวกุเวร” (Kuvera) ผู้เป็นราชาแห่งยักษ์ ต่อมา พระพุทธศาสนาในยุค "อนุราธปุระ" ของลังกา (ราวพุทธศตวรรษที่ ๘) ได้นำเอารูปของท้าวกุเวรและพมนบริวาร มาใช้เป็น “ทวารบาล” ของศาสนสถาน โดยประดับรูปไว้ตรงปากบันไดหรือทับหลังประตู โดยมีนัยถึงการอำนวยพรให้โชคลาภสักการะ อันได้แก่ความร่ำรวยและมั่งคั่งแก่สาธุชนที่มาทำบุญยังศาสนสถานแห่งนี้ - อ่านเรื่องราวประติมากรรมคนแคระเพิ่มเติมได้ที่ http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/2017/07/01/entry-1 และตามคำบอกเล่าของพระสุปฏิปันโนที่ท่านเคยพบเจอพวกภูตแคระในญาณนั้น ท่านว่าพวกนี้ตัวเล็กมาก ขนาดความสูงไม่น่าเกิน ๑๐ นิ้ว (๒๕.๔ เซนติเมตร) ทั้งหญิงทั้งชายล้วนมีหน้าตาเหมือนเรา มีอาการครบ ๓๒ ทุกประการ มีผิวพรรณสวยงาม ใบหน้าได้สัดส่วน มีรอยยิ้มที่สง่างาม และเพียบพร้อมด้วยจรรยากิริยาอันสุภาพ ![]() พวกพมนในตำนานนอร์ส
สุดท้ายนี้ พวกพมน (Vamana) หรือดวอฟ (Dwarf) มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งในยุคเรอแนซ็องส์ (Renaissance) ว่า "โนม" (Gnome) โดยคนไทยเรารู้จักพวกพมนจากสื่อภาพยนตร์แฟนตาซีหลายๆ เรื่อง เช่น สโนไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นต้น ![]() โนม (Gnome)
RE: เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) - MongonAF48DW - 09-27-2020 มีสาระ ![]() RE: เปรียบเทียบเผ่าพันธุ์ในตำนานเทพนิยาย (ตะวันออก - ตะวันตก) - Mysticphoenix - 09-29-2020 ทางตะวันออกนี่ ชื่อไม่คุ้นเลยแฮะ |